โบรกเกอร์ Forex ที่น่าเชื่อถือในไทย

ตารางสรุปโบรกเกอร์ Forex ที่น่าเชื่อถือ

โบรเกอร์ก่อตั้งประเทศหน่วยงานเวลเวอเลจSpreadฝากขั้นต่ำเรทฝากถอนความเร็วฝากถอน
รายละเอียดรูปภาพ2008ไซปรัสFSA,CySEC,
FCA,FSCA,
CBCS,FSC
1:2000EURUSD 1:2
GBPUSD 1:6
USDJPY 1:1
1 USDฝาก 3,267
ถอน 3,266
ส่วนต่าง -1
ฝาก-ทันที
ถอน-ทันที
รายละเอียดรูปภาพ
2009เบลีซIFSC,FCA
CySEC,ASIC
1:888EURUSD 1:7
GBPUSD 2:1
USDJPY 1:5
165 บาทฝาก 3,355
ถอน 3,339
ส่วนต่าง -16
ฝาก-ทันที
ถอน 30-40 นาที
รายละเอียดรูปภาพ
2012อังกฤษFCA,FSA1:1000EURUSD 0:7
GBPUSD 1
USDJPY 0:7
500 บาทฝาก 3,200
ถอน 3,183
ส่วนต่าง -16
ฝาก-ทันที
ถอน 20-25 นาที
รายละเอียดรูปภาพ
2010ออสเตรเลียASIC, FCA1:500EURUSD 1.2
GBPUSD 1.6
USDJPY 1.2
1 USD"ฝาก 3,356
ถอนได้ 3,200
ส่วนต่าง -156"
ฝาก ทันที
ถอน 1 วัน 17 ชม.
รายละเอียดรูปภาพ
2006
ไซปรัสFCA, CySec, FSCA,
DFSA, SCB
1:500EURUSD 1.5
GBPUSD 1.7
USDJPY 1.3
3,000 บาทฝาก 3,150
ถอนได้ 3,150
ส่วนต่าง 0
ฝาก 1-2 นาที
ถอน 1-3 ชม.
รายละเอียดรูปภาพ
2009ไซปรัสCySEC, VFSC, FSCA1:1000EURUSD 1.6
GBPUSD 1.6
USDJPY 1.9
100 USDฝาก 3,229
ถอนได้ 3,169
ส่วนต่าง -60
ฝาก 30 นาที - 1 ชม.
ถอน 6 ชม.
รายละเอียดรูปภาพ
2009รัสเซียIFSC, CySec1:3000EURUSD 0.9
GBPUSD 1.6
USDJPY 2.7
500บาทฝาก 3,259
ถอนได้ 3,062
ส่วนต่าง -197
ฝาก ทันที
ถอน 3 นาที
รายละเอียดรูปภาพ
2009เซนต์วินเซนต์
และเกรนา
ดินส์
SV, FCA, DFSA,
FSCA, FSA
1:1000EURUSD 1.2
GBPUSD 1.5
USDJPY 1.5
500 บาทฝาก 3,321
ถอนได้ 3,031
ส่วนต่าง -290
ฝาก 10-15 นาที
ถอน 2 วัน 2 ชม.
รายละเอียดรูปภาพ
2006เซนต์วินเซนต์
และเกรนา
ดินส์
ไม่มีข้อมูล1:1000EURUSD 1.1
GBPUSD 2.2
USDJPY 1.9
500 บาทฝาก 3,332
ถอนได้ 3,273
ส่วนต่าง -59
ฝาก 1-3 ชม.
ถอน 2 ชม. 20 นาที
โบรกเกอร์ FOREX ที่น่าเชื่อถือในไทย

ใบอนุญาต Forex ที่มีความน่าเชื่อถือสูงที่สุด

การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของหน่วยงานที่กำกับดูการทำการในธุรกิจการเงินเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับนักลงทุนที่ต้องการความปลอดภัยในการเทรดหรือลงทุนในต่างประเทศ มาดูรายชื่อหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือสูงและต่ำ และบางส่วนเกี่ยวกับประเทศและความสำคัญของแต่ละหน่วยงาน

หน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือสูง

  1. ASIC (Australian Securities and Investments Commission) – ประเทศออสเตรเลีย: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศออสเตรเลีย
  2. IIROC (Investment Industry Regulatory Organisation of Canada) – แคนาดา: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจลงทุนแห่งประเทศแคนาดา
  3. MAS (Monetary Authority of Singapore) – สิงคโปร์: ธนาคารกลางและหน่วยงานกำกับดูธุรกิจการเงินแห่งสิงคโปร์
  4. FINMA (Swiss Financial Market Supervisory Authority) – สวิส: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศสวิส
  5. FCA (Financial Conduct Authority) – สหราชอาณาจักร: หน่วยงานกำกับดูการทำการในธุรกิจการเงินแห่งสหราชอาณาจักร
  6. FAS – Japan (Financial Services Agency) – ญี่ปุ่น: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศญี่ปุ่น
  7. CFTC (Commodity Futures Trading Commission) – สหรัฐ: หน่วยงานกำกับดูการเทรดสินค้าเพื่อการซื้อขายล่วงหน้าของสหรัฐ
  8. NFA (National Futures Association) – สหรัฐ: องค์กรกำกับดูการเทรดสินค้าเพื่อการซื้อขายล่วงหน้าในสหรัฐ
  9. CySec (Cyprus Securities and Exchange Commission) – ไซปรัส: หน่วยงานกำกับดูการทำการของตลาดหลักทรัพย์และการลงทุนในไซปรัส
  10. CNMV (Comisión Nacional del Mercado de Valores) – สเปน: หน่วยงานกำกับดูตลาดหลักทรัพย์แห่งสเปน
  11. KNF (The Polish Financial Supervision Authority) – โปแลนด์: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศโปแลนด์

หน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือต่ำ

  1. FSC – Mauritius (Financial Services Commission – Mauritius) – มอริเชียส: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศมอริเชียส
  2. FSA – Seychelles (Seychelles Financial Services Authority) – เซเชลส์: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศเซเชลส์
  3. FSCA (Financial Sector Conduct Authority) – แอฟริกาใต้: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศแอฟริกาใต้
  4. SCB (Securities Commission of The Bahamas) – บาฮามาส: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศบาฮามาส
  5. Vincent and the Grenadines – เป็นหน่วยงานกำกับดูของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
  6. DFSA (Dubai Financial Services Authority) – ดูไบ: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินของศูนย์การเงินแห่งดูไบ
  7. LFSA (Labuan Offshore Financial Services Authority) – มาเลเซีย: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งลาบัวน
  8. BMA (Bermuda Monetary Authority) – เบอร์มิวดา: ธนาคารกลางและหน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งเบอร์มิวดา
  9. CIMA (Cayman Islands Monetary Authority) – หมู่เกาะเคย์แมน: ธนาคารกลางและหน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งหมู่เกาะเคย์แมน
  10. IFSC (International Financial Services Commission) – เบลีซ: หน่วยงานกำกับดูการทำการธุรกิจการเงินแห่งประเทศเบลีซ

โบรกเกอร์ Forex ความน่าเชื่อถือคือสิ่งสำคัญที่สุด

    ความน่าเชื่อถือเป็นสิ่งสำคัญมากอันดับต้นๆสำหรับการเทรด forex เจาะข้อมูลโบรกเกอร์เพื่อคัดสรรโบรกเกอร์ Forex ที่ดีที่สุดสำหรับคนไทย โดยข้อมูลทุกอย่างที่นำเสนอนั้นมาจากการฝากเงินจริง เทรดจริง ทดสอบจริง เรามีทีมงานคอยตรวจสอบเสมอ เพื่ออัพเดตข้อมูลใหม่ๆเพื่อให้เทรดเดอร์ชาวไทย โปรดอ่านรีวิวอย่างละเอียดก่อนสมัคร เราเตือนคุณแล้วนะครับ 

การจัดอับดับโบรกเกอร์ forex

ต้องเลือกโบรกเกอร์ Forex ที่น่าเชื่อถือสูง  เพราะในประเทศไทยเรายังไม่รองรับกฏหมายการเทรด Forex เวลาเทรดเดอร์ไทยไปสมัครเปิดพอร์ตกับโบรกเกอร์ต่างๆ เราจะได้รับการควบคุมกำกับดูแลจาก Regulator (องค์การควบคุมดูแลโบรกเกอร์ Forex ที่คอยทำหน้าที่ตรวจสอบโบรกเกอร์ Forex ในเรื่องความมั่นคงในการดำเนินธุรกิจ) ของต่างประเทศ

โบรกเกอร์ที่คนไทยเปิดพอร์ตการเทรด Forex นั้นควรมี Regulator ที่มีคุณภาพ มีความเข้มงวดในการตรวจสอบ มีมาตรฐานการบริการในระดับสากล เพื่อให้เรามั่นใจได้ว่า เงินที่เราลงทุนนั้นจะไม่สูญหาย

รวม Logo โบรกเกอร์ Forex

broker forex ที่น่าเชื่อถือ มีอะไรบ้าง ?

  • มีสำนักงานกำกับดูแลที่น่าเชื่อถือ
  • ซัพพอร์ตภาษาไทย ทั้งเว็บไซต์ และ Live chat
  • สามารถฝากถอนผ่านธนาคารในประเทศไทยได้
  • มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส

3 โบรกเกอร์ที่แนะนำในไทย

โบรกเกอร์ Exness

logo Exness
Exness : ข้อมูลฉบับเต็ม เปิดบัญชีเริ่มเทรด

ข้อมูลเบื้องต้น

  • ชื่อโบรกเกอร์ : Exness
  • ก่อตั้งปี 2008
  • ชื่อเสียงระดับ : Top ในไทย
  • สำนักงานใหญ่ : 1, Siafi Street, PortoBello, Office 1, 3042, Limassol, Cyprus
  • Email : support@exness.com
  • เบอร์โทร : 1-800-012-303 (ในไทยโทรฟรี)

ข้อดี

  • ประเภทบัญชีให้เลือกเยอะ
  • ฟรีสวอป
  • สเปรดต่ำ
  • ซัพพอร์ตตอบเร็ว
  • ฝากถอนไว และเรทดฝากถอนดี
  • เทรดได้หลายคู่เงิน คริปโต ทอง
  • เหมาะสำหรับมืออาชีพ มือใหม่

ข้อเสีย

  • ช่วงข่าว สเปรดถ่าง
  • ไม่มีโบนัส
  • มีข่าวตุกติกบ่อย

ใบอนุญาตโบรกเกอร์

  • E​xness (SC) จดทะเบียนในประเทศเซเชลส์ เลขทะเบียน 8423606-1 และได้รับอนุญาตจากสำนักงานกำกับดูแลผู้ให้บริการทางการเงิน (FSA) หมายเลขใบอนุญาต SD025
  • Exness B.V. จดทะเบียนในกือราเซา เลขทะเบียน 148698(0) และได้รับอนุญาตจากธนาคารกลางกือราเซาและซินต์มาร์เติน (CBCS) หมายเลขใบอนุญาต 0003LSI
  • Exness (VG) Ltd ได้รับอนุญาตโดยคณะกรรมการบริการด้านการเงิน (FSC) ในหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หมายเลขจดทะเบียน 2032226 และหมายเลขใบอนุญาตธุรกิจการลงทุน SIBA/L/20/1133

โบรกเกอร์ XM

โบรกเกอร์ XM จะมีใบอนุญาตอยู่ 3 ใบ คือ IFSC, CySec และ ASIC ในส่วนของคนไทยเมื่อสมัครกับทาง XM จะไปอยู่ภายใต้การดูแลของ IFSC

IFSC : International Financial Services Commission ประเภทเบลิซ

ใบอนุญาตหมายเลข 000261/158 – หลักฐานการจดทะเบียน (คลิ๊ก)

โบรกเกอร์ Land-FX

ทางโบรกเกอร์ Land-FX จะให้คนไทยที่สมัครไปอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ FSA มีการแยกบัญชีลูกค้าออกจากบัญชีบริษัท มีทำประกันคุ้มครองสูงสุด 50,000 ยูโร ในกรณีบริษัทล้มละลาย และใช้บริการของธนาคาร Barclays Plc. เป็นผู้ดูแลบัญชี

Finance Services Authority (FSA) : ใบอนุญาตหมายเลข 23627 IBC 2016

FSA

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับการเลือกโบรกเกอร์ Forex

การเทรด Forex ในไทย ผิดกฎหมายไหม ?

ไม่ผิดครับ 

ทาง สำนักงานเศรษฐกิจการคลังได้ชี้แจ้งไว้ว่า ในไทยยังไม่มีกฏหมายรองรับการเทรด Forex แต่ก็ไม่ผิดที่จะไปเปิดพอร์ตเทรด Forex กับโบรกเกอร์ต่างประเทศ

คำชี้แจ้งจาก สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)

ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายใดรองรับ ดังนั้น หากนักลงทุนต้องการดำเนินธุรกรรม ในลักษณะดังกล่าว อาจมีความเสี่ยงทั้งจากความเสียหายจากการขาดทุนอัตราแลกเปลี่ยนและการผิดนัดชำระเงินคืน 

ทั้งนี้ ปัจจุบันยังไม่มีการออกใบอนุญาตให้ผู้ใดประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการชำระเงินต่างประเทศตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอัตราการแลกเปลี่ยนในลักษณะการเก็งกำไรอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ดังนั้น หากมีบุคคลใดมาชักชวนให้ร่วมลงทุนในลักษณะดังกล่าวให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ท่านอาจโดนมิจฉาชีพหลอกลวงมีโอกาสได้รับความเสียหาย

หลักฐานข้อมูลจาก สคศ. (คลิ๊ก) 

ดังนั้นการเทรด Forex กับโบรกเกอร์ต่างประเทศไม่ผิดกฏหมาย

สามารถเลือกโบรกเกอร์อื่นได้ไหม นอกเหนือจาก 3 โบรกเกอร์ข้างต้นนี้ ?

ได้ครับ แต่ทั้ง 3 โบรกเกอร์ข้างต้น และ 10 โบรกเกอร์ที่เรานำมาจัดอันดับโบรกเกอร์ที่ดีที่สุดในไทย นั้น เราได้คัดกรองมาเป็นที่เรียบร้อย เทรดเดอร์มั่นใจได้ว่าหากเปิดบัญชีเทรดกับโบรกที่เราคัดสรรมา จะปลอดภัยอย่างแน่นอน มีความน่าเชื่อถือ มีระบบเทรดที่เสถียร และที่สำคัญเหมาะกับคนไทย … มีหลายโบรกเกอร์ Forex อื่นๆ ที่ดี แต่ยังไม่ค่อยเหมาะกับคนไทยสักเท่าไหร่ และที่สำคัญ มีหลายโบรกเกอร์ที่เข้ามาใหม่ อันนี้เทรดเดอร์ต้องระวังความเสี่ยงเรื่องการความปลอดภัยของการเทรด และการปิดหนีขอตัวโบรกเกอร์ด้วยนะครับ

โบรกเกอร์ที่ดีต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้าง ?

หลักๆจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ มีความน่าเชื่อถือสูง, มีใบอนุญาตในการดำเนินธุรกิจ, ดำเนินธุรกิจมานาน, Spread ต่ำ, เรทฝากถอนดี, ฝากถอนรวดเร็ว, ระบบการเทรดมีเสถียรภาพ, ไม่โกงเงินลูกค้า และ มีเจ้าหน้าซัพพอร์ตที่ดี

ข้อมูลที่ ThaiForexBroker.com ที่นำเสนอนั้นมีความน่าเชื่อถือแค่ไหน ?

ทางเรา ThaiForexBroker.com ไม่รับการโฆษณาใดๆ จากโบรกเกอร์ทั้งสิ้น เพื่อความไม่เอนเอียงของข้อมูล เราต้องการให้เทรดเดอร์ได้เลือกใช้บริการโบรกเกอร์ Forex ที่ดีที่สุด ดังนั้นข้อมูลที่เรานำเสนอมาทั้งหมดบน Website นั้น มาจากข้อมูลที่ทางทีมงานเราทดสอบและค้นคว้าอย่างละเอียดเองทั้งหมด ไม่มีการถูกชักจูงใดๆ

ข้อควรระวังในการเลือกโบรกเกอร์ Forex

สรุป โบรกเกอร์ Forex ในไทย

ความตั้งใจหลักของ ThaiForexBroker คือต้องการให้เทรดเดอร์คนไทยได้ใช้บริการโบรกเกอร์ Forex ที่ดีที่สุด ต้องไม่ตกเป็นเหยื่อของโบรกเกอร์ไม่ดี โดยโบรกเกอร์ 3 โบรกที่เราแนะนำ ทั้ง Exness, XM และ Land-FX เป็นโบรกเกอร์ที่ถูกคัดสรรมาเป็นอย่างดี มีคุณภาพอย่างมาก ที่สำคัญเหมาะกับคนไทยอย่างเรา อ่านรีวิวก่อนสมัคร หาข้อมูลก่อนเชื่อใครก็ไม่รู้ เสียเวลาสักนิด **ด้วยความหวังดีครับ**